|
|
เดิมตำบลลานสักอยู่ในการปกครองของอำเภอบ้านไร่
จ. อุทัยธานี พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นป่าและภูเขาสัญลักษณ์ของตำบลลานสักคือ ต้นสัก เมื่อเข้าสู่อำเภอลานสักจะเห็นต้นสักริมฝั่งทั้งสองสวยงามมาก |
|
|
|
|
|
เทศบาลตำบลลานสัก เป็นเทศบาลแห่งเดียวในอำเภอลานสัก จังหวัดอุทัยธานี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของจังหวัดอุทัยธานี และห่างจากศาลากลางจังหวัดอุทัยธานี
ประมาณ 57 กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 285 กิโลเมตร เทศบาลตำบลลานสักมีเนื้อที่ประมาณ
13 ตารางกิโลเมตรหรือ 8,125 ไร่ |
|
|
|
  |
|
|
|
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
หมู่ที่ 2 ต.ลานสัก อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
หมู่ที่ 4 ตำบลลานสัก อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี
หมู่ที่ 1, 2 และ 4 ต.ป่าอ้อ อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
หมู่ที่ 11 ต.ประดู่ยืน อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
หมู่ที่ 1,9 ต.ลานสัก อ.ลานสัก จ.อุทัยธานี |
|
|
|
    |
|
|
|
เศรษฐกิจของประชาชนอยู่ในเกณฑ์ดี แต่ขาดหลักฐาน
ทางด้านเอกสารสิทธิ์การถือครองที่ดินเนื่องจากเป็น นส.3ก
และอยู่ในเขตป่าสงวน การหมุนเวียนเงินทุนมีน้อย อันเนื่อง
มาจากราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรรายได้เฉลี่ยของประชาชน 45,000.-/คน/ปี |
|
|
|
|
|
|
สภาพพื้นที่เป็นที่ราบและที่ราบลุ่ม ประมาณ 95 % และเป็น
พื้นที่น้ำ 5% ของพื้นที ทั้งหมด |
ลักษณะทางภูมิอากาศ มี 3 ฤดู |

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ มกราคม – เมษายน |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ พฤษภาคม – สิงหาคม |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ กันยายน – ธันวาคม |
|
|
|
|
|
ย่านการค้าเทศบาลตำบลลานสัก ได้แก่บริเวณตลาด
ชุมชน ซึ่งมีบริเวณค่อนข้างกว้าง ประกอบด้วยตึกแถว
คอนกรีต เรือนแถวไม้ และเพิงแผงลอยจำหน่วยสินค้า
ทั่ว ๆ ไปเกือบทุกประเภทนอกจากนั้นเป็นร้านค้าย่อย
กระจายอยู่ตลอดแนวถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 |
|
|
|
|
ประชากร ทั้งสิ้น 3,745 คน |
|
จำนวนครัวเรือน 1,627 ครัวเรือน |
|

 |
ชาย จำนวน 1,879 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.17 |
|

 |
หญิง จำนวน 1,866 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.83 |
|
มีความหนาแน่นเฉลี่ย 288.07 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
|
|
 |
ชุมชนร่วมใจพัฒนา |
 |
 |
|
ชุมชนอยู่ดีมีสุข |
 |
|
 |
ชุมชนบ้านเก่าพัฒนา |
 |
 |
|
ชุมชนลานสักพัฒนา |
 |
|
 |
ชุมชนนาไร่เดียว |
 |
 |
|
ชุมชนคลองชัยพัฒนา |
 |
|
|
|
  |
|
|